Customize Consent Preferences

We use cookies to help you navigate efficiently and perform certain functions. You will find detailed information about all cookies under each consent category below.

The cookies that are categorized as "Necessary" are stored on your browser as they are essential for enabling the basic functionalities of the site. ... 

Always Active

Necessary cookies are required to enable the basic features of this site, such as providing secure log-in or adjusting your consent preferences. These cookies do not store any personally identifiable data.

Functional cookies help perform certain functionalities like sharing the content of the website on social media platforms, collecting feedback, and other third-party features.

Analytical cookies are used to understand how visitors interact with the website. These cookies help provide information on metrics such as the number of visitors, bounce rate, traffic source, etc.

Performance cookies are used to understand and analyze the key performance indexes of the website which helps in delivering a better user experience for the visitors.

Advertisement cookies are used to provide visitors with customized advertisements based on the pages you visited previously and to analyze the effectiveness of the ad campaigns.

สัญญาณเตือนถึงคุณผู้ชาย: จะรู้ได้อย่างไรว่าเราพร่องฮอร์โมน?  

โดย : Admin Besinsthailand วันที่เผยแพร่ : 28 ตุลาคม 2567
โดย : Admin Besinsthailand วันที่เผยแพร่ : 28 ตุลาคม 2567
แชร์ข้อมูล
สัญญาณเตือนคุณผู้ชาย

สัญญาณเตือนถึงคุณผู้ชาย: จะรู้ได้อย่างไรว่าเราพร่องฮอร์โมน?

อายุที่มากขึ้น ก็นำไปสู่ความบกพร่องทางสมรรถภาพร่างกายหลายๆอย่าง ซึ่งความบกพร่องนั้นคนส่วนใหญ่มักเข้าใจกันว่าเป็นเรื่อง “แก่” และคิดว่าทำอะไรกับมันไม่ได้ แต่จริงๆแล้ว มันคือภาวะพร่องฮอร์โมนเพศชายที่ไม่ควรมองข้าม

ในคลิปนี้ นพ. วีรยุทธ์ วิริยะบัณฑิตสกุล ศัลยแพทย์ระบบทางเดินปัสสาวะ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า จะมาช่วยคุณผู้ชายค้นหาความลับในการเปลี่ยนแปลง เพื่อช่วยให้ทุกคนต่อสู้กับอาการบกพร่องที่ส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจำวัน การทำงาน และ ยังอาจส่งผลกระทบต่อความสัมพันธ์กับคนรอบข้างได้ด้วย

 

 

ทั้งนี้คุณหมอได้ให้ความรู้ว่าความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากภาวะพร่องฮอร์โมนนั้น อาจแบ่งได้เป็น 3 ส่วนคือ ความเปลี่ยนแปลงที่ส่งผลกระทบต่อร่างกาย ความเปลี่ยนแปลงเรื่องความต้องการทางเพศ และ ความเปลี่ยนแปลงทางที่ส่งผลกระทบต่อจิตใจ ซึ่งเกิดขึ้นเร็วหรือช้านั้นก็ขึ้นอยู่กับพฤติกรรมการใช้ชีวิตได้ด้วยเหมือนกัน

ทางที่ดีเมื่อสังเกตเห็นความเปลี่ยนแปลงเหล่านั้นในตัวเอง เบื้องต้นคนไข้สามารถทำแบบสอบถามคัดกรองได้ด้วยตนเอง จากนั้นควรเข้าไปปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเพื่อแพทย์จะได้ทำการวินิจฉัยแบบเจาะลึก และทำการรักษาได้อย่างตรงจุด โดยปัจจุบันภาวะพร่องฮอร์โมนนั้น สามารถได้รับการรักษาให้กลับมาใช้ชีวิตได้ปกติได้ด้วยการให้ฮอร์โมนทดแทน โดยเฉพาะฮอร์โมนทดแทนแบบทา ที่ทำให้การรักษาเรื่องภาวะพร่องฮอร์โมนนั้น ไม่ใช่เรื่องยุ่งยากวุ่นวายอีกต่อไป 

🔍 ทำแบบประเมินภาวะพร่องฮอร์โมนเพศชายได้ที่ เริ่มทำแบบทดสอบได้

🛎 SUBSCRIBE และกดกระดิ่งเพื่อให้ไม่พลาดทุกการอัพเดทวีดีโอใหม่ๆ Subscribe BHTH YouTube channel

บทความที่น่าสนใจ

บทความที่น่าสนใจ