Customize Consent Preferences

We use cookies to help you navigate efficiently and perform certain functions. You will find detailed information about all cookies under each consent category below.

The cookies that are categorized as "Necessary" are stored on your browser as they are essential for enabling the basic functionalities of the site. ... 

Always Active

Necessary cookies are required to enable the basic features of this site, such as providing secure log-in or adjusting your consent preferences. These cookies do not store any personally identifiable data.

Functional cookies help perform certain functionalities like sharing the content of the website on social media platforms, collecting feedback, and other third-party features.

Analytical cookies are used to understand how visitors interact with the website. These cookies help provide information on metrics such as the number of visitors, bounce rate, traffic source, etc.

Performance cookies are used to understand and analyze the key performance indexes of the website which helps in delivering a better user experience for the visitors.

Advertisement cookies are used to provide visitors with customized advertisements based on the pages you visited previously and to analyze the effectiveness of the ad campaigns.

ฮอร์โมนพร่อง ไม่ใช่แค่เรื่อง “จู๋หด” – หาคำตอบสุขภาพเพศชาย

โดย : Admin Besinsthailand วันที่เผยแพร่ : 26 กันยายน 2567
โดย : Admin Besinsthailand วันที่เผยแพร่ : 26 กันยายน 2567
แชร์ข้อมูล
อ้วนลงพุง เบาหวาน และพร่องฮอร์โมนเพศชาย

ฮอร์โมนพร่อง ไม่ใช่แค่เรื่อง “จู๋หด”

ผู้ชายส่วนใหญ่คิดว่า เมื่อไหร่ที่ “จู๋หด”  “นกเขาไม่ขัน” เมื่อนั้นจึงเป็นภาวะฉุกเฉินที่ต้องรีบพบแพทย์

นายแพทย์ พสุ ตันสกุล ศัลยแพทย์ทางเดินปัสสาวะ โรงพยาบาลสงขลา ไม่อยากให้คุณผู้ชายเห็นเรื่องฮอร์โมนพร่องนั้นเป็นแค่เรื่องกิจกรรมทางเพศ เพราะอาการทางร่างกายอื่นๆ ก็อาจหมายถึงอาการเสี่ยงของภาวะพร่องฮอร์โมนเพศชายได้ โดยเฉพาะ “อ้วนลงพุง” และ “เบาหวาน”

เมื่ออ้วนลงพุง และเบาหวาน บ่งบอกถึงความเสี่ยงของอาการพร่องฮอร์โมน ในวีดีโอนี้ คุณหมอจะมาไขข้อข้องใจ บอกวิธีวัดค่าดัชนีมวลกาย ให้รู้กันไปเลยว่าเท่าไหร่ถึงเรียกว่า “อ้วนลงพุง”  และความสัมพันธ์ของพุงกับฮอร์โมนเพศ และโรคต่างๆที่อาจบ่งบอกถึงความเสี่ยงของภาวะพร่องฮอร์โมนได้ เช่น โลหิตจาง มวลกระดูกบาง และ เอชไอวี

อีกทั้งคุณหมอยังย้ำว่า ฮอร์โมนพร่อง ไม่ใช่เรื่องน่ากลัว แต่ก็ไม่ควรมองข้าม เพราะนั่นหมายถึงเรื่องสุขภาพโดยรวมของร่างกายทั้งหมด อีกทั้งเทคโนโลยีทางการรักษาอาการพร่องฮอร์โมนในยุคปัจจุบันนั้นก้าวหน้าขึ้นเยอะ โดยก่อนจะทำการรักษา คุณหมอจะทำการตรวจประเมินความเสี่ยง รวมไปถึงตรวจติดตามผลข้างเคียงของการให้ฮอร์โมนทดแทน ไม่ว่าจะเป็นความเสี่ยงเรื่องมะเร็งต่อมลูกหมาก และความเสี่ยงทางสุขภาพอื่นๆ ให้กับคนไข้ทีละคนอย่างใกล้ชิด

🔍 ทำแบบประเมินภาวะพร่องฮอร์โมนเพศชายได้ที่ คลิกเพื่อทำแบบทดสอบ

🛎 SUBSCRIBE และกดกระดิ่งเพื่อให้ไม่พลาดทุกการอัพเดทวีดีโอใหม่ๆ Besins Healthcare TH

บทความที่น่าสนใจ

บทความที่น่าสนใจ